วันอังคารที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2554

ระบบ MIS ของมหาวิทยาลัยสมสุขวิทยา

1.ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริษัท

1.1 ประวัติการพัฒนาระบบงาน MIS (Management Information System)

ระบบงาน MIS ของมหาวิทยาลัย ได้พัฒนาและใช้มาแล้วเป็นเวลาประมาณ 15 ปีโดยเดิมพัฒนาบนเครื่อง CDC Cyber 18/20 ซึ่งมี ระบบงานทะเบียนนักศึกษา และระบบงานบุคลากร ภาษาที่ใช้คือภาษา COBOL และ ภาษา RPG ต่อมาประมาณปลาย ปี พ.ศ. 2529 ได้เปลี่ยนมาใช้เครื่อง VAX11/785 ระบบปฏิบัติการ Unix ภาษาที่ใช้คือภาษา COBOL และ ภาษา C และได้ทำการถ่ายโอนโปรแกรมเดิมบน CDC มาใช้บน VAX เฉพาะโปรแกรมที่เขียนด้วย ภาษา COBOL สำหรับโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา RPG ได้ทำการเขียนใหม่ด้วยภาษา COBOL และ ภาษา C เนื่องจากบน Unix ไม่มีภาษา RPG และได้ทำการพัฒนา ระบบงานเพิ่มคือ ระบบงานการเงินในส่วนของงบประมาณ และงานเงินเดือน และระบบงานครุภัณฑ์ และได้ใช้มาจนถึงปลายปี 2539

ต่อมาทางศูนย์คอมพิวเตอร์ได้เล็งเห็นว่า ระบบงาน MIS ที่ใช้อยู่บนเครื่อง VAX 11/785 นั้นได้ใช้งานมานานแล้ว และเกิดปัญหาขึ้นบ่อยครั้ง อันเนื่องมาจากการเสื่อมสภาพของชิ้นส่วนอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ที่ถูกใช้งานมานาน อีกทั้งโปรแกรมต่างๆที่ใช้งานอยู่ค่อนข้างล้าสมัยหากเทียบกับเทคโนโลยีในขณะนั้น จึงได้มีการปรับเปลี่ยนฮาร์ดแวร์มาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
HP K200 Memory 128 MB Hard disk10GB OS HP-Ux10.01 ใช้ซอฟต์แวร์ ORACLE Version 7 ซึ่งเป็นโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลที่มีความสามารถสูงและใช้ได้ดีกับระบบฐานข้อมูลใหญ่ ๆ และได้พัฒนาระบบงาน MIS ขึ้นใหม่จากงานเดิมที่ใช้อยู่เป็นหลัก และได้ทำการเพิ่มเติมในบางส่วนตามความต้องการใหม่ทั้งในส่วนของคณะและหน่วยงานกลาง เพื่อให้การใช้ข้อมูลที่มีอยู่มีประสิทธิภาพ สนองตอบต่อความต้องการทั้งของคณะและหน่วยงานต่างๆของมหาวิทยาลัย
ทั้งนี้ระบบงานของมหาวิทยาลัยจะแบ่งการทำงานออกเป็น 2 ส่วน คือ

ส่วนที่ 1 ซอฟท์แวร์ MIS มีจำนวน 5 ระบบ คือ

ระบบงาน MIS ของมหาวิทยาลัย มีอยู่ทั้งสิ้น 5 ระบบงาน ได้แก่

1. ระบบงานการเงิน

2. ระบบงานบุคลากร

3. ระบบงานทะเบียนนักศึกษา

4. ระบบงานเงินเดือน

5. ระบบงานครุภัณฑ์

ส่วนที่ 2 อุปกรณ์ (Hardware) ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management System)
มีดังนี้

1. เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย จำนวน 2 เครื่อง

2. อุปกรณ์ข้างเคียง (Peripherals)

3. ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management System)

1.2 รูปแบบการบริหารจัดการและการบริหารงาน

ระบบงานทั้งหมด จะช่วยสนับสนุนมหาวิทยาลัย ในด้านต่างๆ ดังนี้

1. สนับสนุนการจัดทำแผนบริหารการเงินของมหาวิทยาลัย โดยเน้น การดำเนินงานและใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัด

2. สนับสนุนการจัดทำแผนบริหารทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย โดยเน้นผลประโยชน์สูงสุดที่จะได้รับจากการใช้ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง และแรงงานบุคลากร

3. สนับสนุนการจัดทำระบบสารสนเทศทางการเงินและระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร ของมหาวิทยาลัย โดยมีความสำคัญต่อการตัดสินใจทางการบริหารอย่างถูกต้อง มีข้อมูลสนับสนุนที่เชื่อถือได้

4. สนับสนุนการสื่อสารภายในมหาวิทยาลัยให้รวดเร็ว ทั่วถึง

5. สนับสนุนการบริหารจัดการแบบกระจายอำนาจ

1.3 โครงสร้างทีมงานพัฒนาระบบ MIS




กองการเจ้าหน้าที่ :


2. ขั้นตอนในการประกอบธุรกิจและดำเนินงานของแต่ส่วนงาน
( ผู้จัดทำขอยกตัวอย่างการดำเนินงานแค่ 2 ระบบ )

2.1 ระบบงานการเงิน

2.1.1 การเงินรับ

- สามารถรับเงินประเภทต่างๆได้โดยแต่ละประเภทแยกจากสมุดรับเงิน

เช่น สมุดรับเงินสด , สมุดรับเช็คโดยไม่รวมถึงเงินรับจากนักศึกษา

- สามารถควบคุมเลขที่การออกใบเสร็จจากในเครื่อง

- ต้องไม่สามารถลบใบเสร็จได้ หากมีการทำรายการ และออกเลขที่แล้ว ทำได้เฉพาะ

การยกเลิก (VOID) เท่านั้น และจะไม่สามารถคืนสถานะของใบเสร็จได้

- ทำรายการสรุปการรับเงินรายวันได้

- สามารถออกรายงานย้อนหลังได้

2.1.2. การเงินจ่าย

- บันทึกใบเบิกเงินต่างๆพร้อมทั้งตรวจสอบยอดเงินและกันเงินจากระบบงบประมาณ

- สามารถพิมพ์เอกสารการเบิกเงินจากระบบ

- บันทึกใบสำคัญต่างๆ เช่น ใบสำคัญทั่วไป, จ่าย เป็นต้น

- สามารถพิมพ์ออกจากระบบได้

- รายงานยอดเจ้าหนี้ที่ค้างชำระ

- ออกรายงานสรุปการเบิกจ่ายเงิน

- รายงานสรุปการเบิกจ่ายเงินแต่ละประเภทของแต่ละบุคคลได้

2.2 ระบบบุคลากร

2.2.1 ระบบงานบุคลากร

- รองรับการจัดเก็บข้อมูลทั้งข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้างชั่วคราว โดยกำหนดเป็น

ประเภทของบุคลากรได้เอง เพื่อขยายได้ในอนาคต

- ใช้ฐานข้อมูลบุคลากรเป็นฐานไปยังงานอื่น เช่น งานเงินเดือน

- สามารถจัดทำข้อมูลและรายงาน

- สามารถจัดทำข้อมูลการรับสมัครบุคลากร

- สามารถบันทึกประวัติของบุคลากรเช่น ที่อยู่ ประวัติการศึกษา

2.3 ระบบงานทะเบียนนักศึกษา

- จัดเก็บระเบียนนักศึกษา ทั้งที่เป็นนักศึกษาปัจจุบัน และนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาแล้ว

ทุกหลักสูตร

- นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาแล้ว ต้องมีระบบควบคุมไม่ให้สามารถปรับปรุงแก้ไขข้อมูล

ได้ ยกเว้นในกรณีที่ได้รับความเห็นชอบให้แก้ไข

- เก็บข้อมูลภาพนักศึกษาไว้ในระบบ และสามารถนำมาออกรายงานสำคัญๆ

เช่น รายชื่อนักศึกษา รายชื่อนักศึกษาตามอาจารย์ที่ปรึกษา

- มีระบบพิมพ์บัตรประจำตัวนักศึกษา ทั้งบัตรประจำตัวถาวรและบัตรสำรอง ออกจาก

ระบบได้

- สามารถสืบค้นข้อมูลทั้งนักศึกษาปัจจุบัน และนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาแล้ว โดยค้น

จากชื่อ นามสกุล รหัสประจำตัว หลักสูตรที่สังกัด

- เก็บสถานะการเรียนของนักศึกษา ทุกภาคการศึกษา แม้ว่าจะลาพัก ลาออก หรือพ้น

สภาพการเป็นนักศึกษาก็ตาม

2.4 ระบบงานเงินเดือน

ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทำหน้าที่ควบคุมการจ่ายเงินเดือน รวมทั้งคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายของพนักงานแต่ละคน ปัจจุบันระบบจ่ายเงินเดือนจะมีความสำคัญมากกับธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีบุคลากรมากและการดำเนินงานซับซ้อน เช่น มีการจัดระดับเงินเดือนหลายระบบ และมีการจ่ายเงินเดือนในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน เป็นต้น โดยระบบจ่ายเงินเดือนช่วยให้การดำเนินงานทางบัญชีและการเงินของธุรกิจสะดวก ปลอดภัย และประหยัด ไม่ต้องใช้กำลังคนมาก และมีความรับผิดพลาดน้อยกว่าการใช้บุคคลเป็นผู้ดำเนินงานเพียงอย่างเดียว

3. การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดำเนินการ

3.1 ระบบงานทะเบียน

เป็นระบบงานที่ใช้สำหรับทำการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลของนักเรียน ทั้งข้อมูลส่วนตัวและข้อมูลทางด้านการศึกษา มีความ สามารถ ในการพิมพ์รายงานต่างๆ เช่น พิมพ์ Certificate/Transcript (English), พิมพ์รายชื่อนักเรียน, พิมพ์รายชื่อผู้จบการศึกษา, พิมพ์รายงานคุณลักษณะพิเศษเป็นระบบงานหลักในระบบข้อมูลและสารสนเทศโรงเรียน เริ่มตั้งแต่การรับสมัครนักเรียน, บันทึกข้อมูลนักเรียนเข้าสู่ฐานข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บในฐานข้อมูลหลักนี้ สามารถนำไปเชื่อมโยงกับระบบอื่นด้วย เช่น ระบบรถรับ-ส่งนักเรียน, ระบบห้องสมุด โดยไม่ต้องบันทึกข้อมูลนักเรียนซ้ำอีกครั้งทะเบียนนักเรียน เป็นเอกสารที่นับว่ามีความสำคัญที่สุดที่โรงเรียนต้องเก็บรักษาไว้อย่างปลอดภัยดังนั้นข้อมูลในเอกสารดังกล่าวจึงมีความสำคัญยิ่งที่จะต้องลงรายการให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน จุดนี้คือเหตุผลสำคัญที่ทางมหาวิทยาลัย นำเอาระบบงานทะเบียนมาใช้ เพื่อให้นักศึกษาได้มีความสะดวก และรวดเร็วในการใช้งาน



2. ขั้นตอนในการประกอบธุรกิจและดำเนินงานของแต่ส่วนงาน
( ผู้จัดทำขอยกตัวอย่างการดำเนินงานแค่ 2 ระบบ )

2.1 ระบบงานการเงิน

2.1.1 การเงินรับ

- สามารถรับเงินประเภทต่างๆได้โดยแต่ละประเภทแยกจากสมุดรับเงิน

เช่น สมุดรับเงินสด , สมุดรับเช็คโดยไม่รวมถึงเงินรับจากนักศึกษา

- สามารถควบคุมเลขที่การออกใบเสร็จจากในเครื่อง

- ต้องไม่สามารถลบใบเสร็จได้ หากมีการทำรายการ และออกเลขที่แล้ว ทำได้เฉพาะ

การยกเลิก (VOID) เท่านั้น และจะไม่สามารถคืนสถานะของใบเสร็จได้

- ทำรายการสรุปการรับเงินรายวันได้

- สามารถออกรายงานย้อนหลังได้

2.1.2. การเงินจ่าย

- บันทึกใบเบิกเงินต่างๆพร้อมทั้งตรวจสอบยอดเงินและกันเงินจากระบบงบประมาณ

- สามารถพิมพ์เอกสารการเบิกเงินจากระบบ

- บันทึกใบสำคัญต่างๆ เช่น ใบสำคัญทั่วไป, จ่าย เป็นต้น

- สามารถพิมพ์ออกจากระบบได้

- รายงานยอดเจ้าหนี้ที่ค้างชำระ

- ออกรายงานสรุปการเบิกจ่ายเงิน

- รายงานสรุปการเบิกจ่ายเงินแต่ละประเภทของแต่ละบุคคลได้

2.2 ระบบบุคลากร

2.2.1 ระบบงานบุคลากร

- รองรับการจัดเก็บข้อมูลทั้งข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้างชั่วคราว โดยกำหนดเป็น

ประเภทของบุคลากรได้เอง เพื่อขยายได้ในอนาคต

- ใช้ฐานข้อมูลบุคลากรเป็นฐานไปยังงานอื่น เช่น งานเงินเดือน

- สามารถจัดทำข้อมูลและรายงาน

- สามารถจัดทำข้อมูลการรับสมัครบุคลากร

- สามารถบันทึกประวัติของบุคลากรเช่น ที่อยู่ ประวัติการศึกษา

2.3 ระบบงานทะเบียนนักศึกษา

- จัดเก็บระเบียนนักศึกษา ทั้งที่เป็นนักศึกษาปัจจุบัน และนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาแล้ว

ทุกหลักสูตร

- นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาแล้ว ต้องมีระบบควบคุมไม่ให้สามารถปรับปรุงแก้ไขข้อมูล

ได้ ยกเว้นในกรณีที่ได้รับความเห็นชอบให้แก้ไข

- เก็บข้อมูลภาพนักศึกษาไว้ในระบบ และสามารถนำมาออกรายงานสำคัญๆ

เช่น รายชื่อนักศึกษา รายชื่อนักศึกษาตามอาจารย์ที่ปรึกษา

- มีระบบพิมพ์บัตรประจำตัวนักศึกษา ทั้งบัตรประจำตัวถาวรและบัตรสำรอง ออกจาก

ระบบได้

- สามารถสืบค้นข้อมูลทั้งนักศึกษาปัจจุบัน และนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาแล้ว โดยค้น

จากชื่อ นามสกุล รหัสประจำตัว หลักสูตรที่สังกัด

- เก็บสถานะการเรียนของนักศึกษา ทุกภาคการศึกษา แม้ว่าจะลาพัก ลาออก หรือพ้น

สภาพการเป็นนักศึกษาก็ตาม

2.4 ระบบงานเงินเดือน

ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทำหน้าที่ควบคุมการจ่ายเงินเดือน รวมทั้งคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายของพนักงานแต่ละคน ปัจจุบันระบบจ่ายเงินเดือนจะมีความสำคัญมากกับธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีบุคลากรมากและการดำเนินงานซับซ้อน เช่น มีการจัดระดับเงินเดือนหลายระบบ และมีการจ่ายเงินเดือนในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน เป็นต้น โดยระบบจ่ายเงินเดือนช่วยให้การดำเนินงานทางบัญชีและการเงินของธุรกิจสะดวก ปลอดภัย และประหยัด ไม่ต้องใช้กำลังคนมาก และมีความรับผิดพลาดน้อยกว่าการใช้บุคคลเป็นผู้ดำเนินงานเพียงอย่างเดียว

3. การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดำเนินการ

3.1 ระบบงานทะเบียน

เป็นระบบงานที่ใช้สำหรับทำการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลของนักเรียน ทั้งข้อมูลส่วนตัวและข้อมูลทางด้านการศึกษา มีความ สามารถ ในการพิมพ์รายงานต่างๆ เช่น พิมพ์ Certificate/Transcript (English), พิมพ์รายชื่อนักเรียน, พิมพ์รายชื่อผู้จบการศึกษา, พิมพ์รายงานคุณลักษณะพิเศษเป็นระบบงานหลักในระบบข้อมูลและสารสนเทศโรงเรียน เริ่มตั้งแต่การรับสมัครนักเรียน, บันทึกข้อมูลนักเรียนเข้าสู่ฐานข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บในฐานข้อมูลหลักนี้ สามารถนำไปเชื่อมโยงกับระบบอื่นด้วย เช่น ระบบรถรับ-ส่งนักเรียน, ระบบห้องสมุด โดยไม่ต้องบันทึกข้อมูลนักเรียนซ้ำอีกครั้งทะเบียนนักเรียน เป็นเอกสารที่นับว่ามีความสำคัญที่สุดที่โรงเรียนต้องเก็บรักษาไว้อย่างปลอดภัยดังนั้นข้อมูลในเอกสารดังกล่าวจึงมีความสำคัญยิ่งที่จะต้องลงรายการให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน จุดนี้คือเหตุผลสำคัญที่ทางมหาวิทยาลัย นำเอาระบบงานทะเบียนมาใช้ เพื่อให้นักศึกษาได้มีความสะดวก และรวดเร็วในการใช้งาน

ER-Model


ระบบ Student registration

Column Name

Data Type

Length

Allow Nulls

Unique

Priary Key

Student ID

Numeric

12

No

No

Yes

Name

Char

50

No

Yes

No

Results

Char

4

No

Yes

No

Department

Char

60

No

Yes

No

Grade

Char

3

No

Yes

No

History register

Char

10

No

Yes

No

Status of students

Char

5

No

Yes

No

Profile

Char

100

No

Yes

No

ระบบ Teacher

Column Name

Data Type

Length

Allow Nulls

Unique

Priary Key

Teacher code

Numeric

10

No

No

Yes

Name

Char

50

No

Yes

No

Courses Taught

Char

20

No

Yes

No

Salary

Char

20

No

Yes

No

Education

Char

50

No

Yes

No


หน้าต่างโปรแกรม


3.2 ระบบงานครุภัณฑ์

เหตุผลในการเลือกระบบงานครุภัณฑ์

ในอดีตระบบการจัดการข้อมูลครุภัณฑ์ของมหาวิทยาลัยจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของเอกสารจึงทำให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย ทั้งทางด้านการจัดเก็บเอกสารต่างๆ การค้นหาเอกสารต่างๆ ทางมหาวิทยาลัยจึงเกิดแนวคิดที่จะนำระบบงานครุภัณฑ์เข้ามาใช้ เพื่อที่จะปรับปรุงระบบงานทางด้านครุภัณฑ์แบบเก่า และระบบก็สามารถทำงานได้ดีกับระบบครุภัณฑ์ของมหาวิทยาลัยด้วย

หน้าที่การทำงานของ TPS

- การติดตามการใช้วัสดุภายในหน่วยงาน (Inventory Management)
- การติดตามระดับปริมาณของวัสดุคงเหลือ
- การสั่งซื้อวัสดุที่จำเป็น

- ออกรายงานเกี่ยวกับครุภัณฑ์ต่าง ๆ ได้

Dataflow Diagram


ER-Model

ระบบ Work and equipment

Column Name

Data Type

Length

Allow Nulls

Unique

Priary Key

ID code

Numeric

12

No

No

Yes

Report order

Char

50

No

Yes

No

Report withdrawn

Char

50

No

Yes

No

repair materials

Char

60

No

Yes

No

Balance

Char

50

No

Yes

No

ระบบ Department

Column Name

Data Type

Length

Allow Nulls

Unique

Priary Key

ID

Numeric

12

No

No

Yes

Teacher

Char

50

No

Yes

No

Student

Char

50

No

Yes

No

Employee

Char

60

No

Yes

No


หน้าต่างโปรแกรม